องค์กร/บุคลากร


ตารางแสดงจำนวนและอัตราส่วนของประชากรต่อบุคลากรสาธารณสุขแยกตามประเภท ปี ๒๕๕๕

เจ้าหน้าที่
จำนวน (คน)
สัดส่วนเจ้าหน้า : ประชากร
พยาบาลวิชาชีพ
  :  ,๒๘๒
นักวิชาการสาธารณสุข
  :  ,๑๘๘
เจ้าหน้าที่ธุรการ
-
ผู้ช่วยเหลือคนไข้
-
จิตอาสา
๑๒
-
สรุปจำนวนนักสุขภาพครอบครัว
๑๐
  :  ,๓๑๓

วิสัยทัศน์  (Vision)

             เป็นศูนย์สุขภาพชุมชนที่ได้มาตรฐาน ให้บริการส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟูสภาพและรักษาโรคเบื้องต้น ให้บริการแบบองค์รวม โดยมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดี

 พันธกิจ (mission)

๑.      จัดบริการด้านสุขภาพผสมผสานแบบองค์รวมครอบคลุม ๔ มิติ ทั้งเชิงรุกและเชิงรับให้ครอบคลุม ให้ได้ตามมาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุขและมาตรฐานของสภาการพยาบาล
๒.      ส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนพึ่งตนเองได้และมีสุขภาพที่ดี
๓.      พัฒนาศักยภาพบุคลากรให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ
๔.      ประสานความร่วมมือภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการพัฒนา


ยุทธศาสตร์ (Strategy)
.    การพัฒนาระบบบริหารจัดการ
.    การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
.    การมีส่วนร่วมของประชาชนและพหุภาคี

 เป้าหมาย (Goal)

.   พัฒนาระบบบริการให้ได้มาตรฐาน
.   พัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพ
.   พัฒนาการจัดบริการเชิงรุกในชุมชนให้มีคุณภาพ
๔.   พัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีประสิทธิภาพ
๕.   ส่งเสริมให้ภาคีเครือข่ายชุมชนทุกภาคส่วน มีส่วนร่วม ในการดำเนินงาน

วัฒนธรรมองค์กร

พัฒนาตนเป็นนิจ  รับผิดชอบหน้าที่  มีจิตบริการ ทำงานเป็นทีม

ค่านิยมขององค์กร

รับผิดชอบในหน้าที่ เป็นแบบอย่างที่ดีแก่ชุมชน
 
เข็มมุ่งขององค์กรปี ๒๕๕๖

๑.      พัฒนาการดูแลผู้ป่วยตามปัญหาบริบทของพื้นที่ ได้แก่
๑.๑. โรคเรื้อรัง เน้น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
๑.๒. โรคติดต่อ เน้น โรควัณโรค  ไข้เลือดออก
๑.๓. โรคเฉียบพลัน เน้น โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง
๑.๔. งานอนามัยแม่และเด็ก เน้น มารดาและทารกตาย ทารกน้ำหนักน้อย การคลอดก่อนกำหนด 
๒.      พัฒนาศักยภาพทีมเจ้าหน้าที่ให้มีความพร้อมในการทำงาน โดยผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
๓.      พัฒนาข้อมูลข่าวสารด้านสาธารณสุขครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย และนำไปใช้ได้
๔.      ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเอง



จัดพิมพ์และเผยแพร่โดย
กระทรวงสาธารณสุข
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนุบสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ
สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
บทที่ 1 แนวคิดการทำงาน    download

  • ขอบเขตการดำเนินงาน
  • พื้นที่การทำงาน
  • บุคลากรผู้ปฏิบัติงาน
  • การบริหารจัดการ
  • ระบบสนับสนุน (Supporting System)
  • ขนาดของประชากรในพื้นที่รับผิดชอบตามระดับของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
  • เป้าหมาย
  • การพัฒนาบุคลากร
  • เงื่อนไขที่สำคัญแและปัจจัยความสำเร็จในการดำเนินการจัดตั้งโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
บทที่ 2 กลไกการบริหารงานและสนับสนุนดำเนินงาน    download

  • กลไกบริหารและสนับสนุนการดำเนินงานนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
-  คณะทำงานติดตามและสนับสนุนนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
-  คณะกรรมการเร่งรัดการดำเนินการตามนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
-  สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
-  โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
  • การสนับสนุนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
- การบริหารจัดการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
- คณะกรรมการบริหารโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
- การจัดการด้านกำลังคน
- การจัดการด้านการเงินการคลัง
- การจัดการด้านข้อมูลและการวางแผน
- การสนับสนุนจากโรงพยาบาลแม่ข่าย (CUP)
- บทบาทและการสนับสนุนจากสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ
- บทบาทและการสนับสนุนจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
- บทบาทและการสนับสนุนจากเขตตรวจราชการ
บทที่ 3 ภารกิจหลักของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล    download

  • เด็ก
  • วัยรุ่น
  • สตรี
  • ผู้พิการ
  • ผู้สูงอายุ
  • ผู้ป่วยจิตเวช
  • ผู้ติดยาเสพติด
  • ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
  • การจัดบริการสุขภาพช่องปาก
 กรณีตัวอย่าง
  1. การจัดสิ่งแวดล้อมในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตำบลผาสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดน่าน
  2. การจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนบ้านโสกน้ำขาว อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี
  3. เครือข่ายเด็กไทยไม่กินหวาน ตำบลเมืองหม้อ อำเภอเมือง จังหวัดแพร่
  4. เครือข่ายเด็กไทยไม่กินหวาน อำเภอเชียงกราน จังหวัดน่าน
  5. แม่ลูกฟันดีที่ชุมชนหนองตาเข้ม อำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์
  6. กิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุที่ชมรมผู้สูงอายุ อำเภอแจ้ห่ม จังหวัดลำปาง
  7. การจัดทำข้อตกลงเพื่อสุขภาพช่องปากดี ที่หมู่บ้านผักกาดหญ้า อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์
  • ขอบเขตบริการเฝ้าระวัง สอบสวนโรค
  • ขอบเขตบริการการป้องกันควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญ
  - วัณโรค
  - โรคติดต่อนำโดยแมลง
  - กลุ่มโรคติดต่อทั่วไป
    1. โรคติดต่อทางอาหารและน้ำ
    2. โรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี
  - โรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
  - ขอบเขตการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม 
ภารกิจเสริมของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล    download

  • ด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์
  • ด้านการแพทย์แผนไทยในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
  • การป้องกันโรคที่เกิดจากการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ปลอดภัย
  • การปรับพฤติกรรมสุขภาพ (การคุ้มครองผู้บริโภค)
ภาคผนวก    download

แนวคิดการทำงานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
  • แนวคิดงานบริการเชิงรุกของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
  • ชุดบริการเชิงรุกของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
  • รูปแบบการทำงานเชิงรุกของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
  • แนวคิดการเชื่อมโยงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกับโรงพยาบาลแม่ข่าย
  • แนวคิดการบริการอย่างต่อเนื่องและสามารถให้คำปรึกษากับผู้ป่วยตลอด 24 ชั่วโมง
  • การเยี่ยมบ้าน ดูแลสุขภาพที่บ้านและการใช้บ้านเป็นเรือนผู้ป่วยของทีมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
  • แนวทางการพัฒนาระบบบริการของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
  • รูปแบบการแก้ปัญหาสุขภาพตามบริบทของพื้นที่ที่แตกต่างกัน


ขอบเขตการดำเนินงานใน รพ.สต.

ที่มา http://hph.moph.go.th/?modules=Books&action=ListViewBooks&id=5&type=1

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น